วันเสาร์ที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2553

หลักการทำframe

 5

                   ปกติเราจะแสดงเว็บเพจใน Browser ได้ที่ละ 1 เว็บเพจ แต่ถ้าเราใช้ Frame เราจะสามารถแสดงเว็บเพจได้หลาย ๆ เว็บเพจในหน้าเดียว
โดยจะแบ่งหน้าของ browser ออกเป็นส่วน ๆ โดยใช้ Frame

        การใช้ Frame ส่วนมากเรานิยมที่จะใช้กับส่วนที่เป็น Navigation เช่น ให้มี Navigation เป็น Frame อยู่ทางซ้ายมือ และให้เนื้อหา
อยู่ทางขวามือ


กล่องข้อความ: หลักการทำงานของ Frame 
                      การทำงานของ Frame จะเป็นดังรูปที่ 161 - 162 

        index.html

รูปที่ 161 แสดงหลักการทำงานของเฟรม





                                                                 รูปที่ 162 แสดงโครงสร้างของเฟรม
                                                                  
                   ถ้าเราใช้คำสั่งแบ่ง Frame เป็น 3 Frame ใน 1 หน้าเว็บเพจ เราจะต้องใช้ไฟล์ประกอบกันทั้งหมด 4 ไฟล์ดังรูป
        1.index.html
 เป็นไฟล์หลักทั้งหมด เมื่อผู้ชมจะดูหน้าเว็บเพจจะเข้ามาที่ไฟล์นี้เท่านั้น
                   2.Frame1.html เป็นไฟล์ที่แสดง Frame ส่วนบนของหน้า จะเรียกแสดงผลไฟล์นี้ผ่าน index.html เท่านั้น
                   3.Frame2.html เป็นไฟล์ที่แสดง Frame ส่วนซ้ายของหน้า จะเรียกแสดงผลไฟล์นี้ผ่าน index.html เท่านั้น
                   4.Frame3.html เป็นไฟล์ที่แสดง Frame ส่วนขวาของหน้า จะเรียกแสดงผลไฟล์นี้ผ่าน index.html เท่านั้น

กล่องข้อความ: ขั้นตอนการสร้าง Frame
กล่องข้อความ:

















รูปที่ 163 แสดงขั้นตอนการสร้างเฟรม
             1.เปิดไฟล์ html ใหม่ขึ้นมา
          2.จากนั้นคลิกที่ปุ่มตามรูปที่ 163

        ดังตัวอย่างเราจะสร้าง Frame ทั้งหมด 3 Frame เมื่อคลิกที่ปุ่มแล้วจะเป็นดังรูปที่ 164


        
รูปที่ 164 แสดงผลการสร้างเฟรม

ถ้าเรามองไม่เห็นขอบของ Frame ดังรูปด้านบนให้ไปที่  view > visual aid > Frame borders             3. เราสามารถเลือก Frame ที่ต้องการ และพิมพ์เนื้อหา หรือใส่รูปลงไปใน Frame นั้นได้เลย ดังรูปที่ 165 



  รูปที่ 165  แสดงการตั้งชื่อเฟรม

                       รูปที่ 166 การบันทึกเฟรม
           
                4.เมื่อเราเขียนเนื้อหาใน Frame ใดเรียบร้อยแล้วก็ให้คลิกที่เมนู  File > Save Frame 
  
                                  รูปที่ 167  การตั้งชื่อเฟรมของ TopFrame

ในตัวอย่างเรากำลังเขียนส่วน TopFrame เมื่อ Save เราก็ให้ชื่อไฟล์ว่า Chonnfe.html
ให้เราทำแบบนี้ในทุก Frame ที่เหลือ จะได้ File มาทั้งหมด 3 ไฟล์ ได้แก่
1.Chonnfe.html
2.Chonleft.html
3.Chonmain.html



รูปที่ 168 การตั้งชื่อเฟรมของ LeftFrame
                                


รูปที่ 169 การตั้งชื่อเฟรมของ MainFrame
5.เมื่อเราเขียนทุก Frame เรียบร้อยแล้วจะทำการ Save หน้าเว็บเพจ ให้เราไปที่
File > Save all  เพื่อเป็นการ Save หน้าหลักในการแสดงผล โดยเราจะ Save ในชื่อ index.html 
เท่านี้เราก็จะได้ File ทั้งหมด 4 ไฟล์ด้วยกัน ได้แก่
                        1.Chonnfe.html
2.Chonleft.html
3.Chonmain.html
4.index.html


           

                      รูปที่ 170 การบันทึกเฟรมทั้งหมด


รูปที่ 171 การบันทึก Index ของเฟรม


กล่องข้อความ: การเชื่อมโยงระหว่างเฟรม 
     

                        ถ้าลองสังเกตในเว็บไซต์บางเว็บไซต์จะเห็นว่าซีกซ้ายมือเป็นเมนู และเมื่อคลิกลิงค์เมนูนั้น จะมีหน้าเว็บเพจแสดงขึ้นมาในเฟรม
main Frame เป็นผลที่ได้จากการเชื่อมโยงระหว่างเฟรม ส่วนวิธีทำการเชื่อมโยงระหว่างเฟรม ทำได้ดังนี้.-

รูปที่ 172 การลิงค์ระหว่างเฟรม


รูปที่ 173 การทำลิงค์ไฟล์เป้าหมาย
 
รูปที่ 174 การกำหนดลิงค์แสดงผลไฟล์เป้าหมาย
 
จากนั้นกดปุ่ม <F12> แล้วทดสอบลิงค์ระหว่างเฟรมภายในบราวเซอร์ด้วยการคลิกที่จุดลิงค์  หน้าเว็บเพจจะแสดงในส่วนของ mainFrame

รูปที่ 176 การแสดงผลผ่าน Bownser

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น